😰เคยไหม🐠ปลาที่เรารักไม่กินอาหาร ซึม ลอย ผิดปกติ❎
😭เคยไหม🐟💀ปลาที่เรารักจากไปอย่างไม่มีวันกลับมา❎
‼ เพื่อน ๆ เคยสงสัยเหมือนแอดไหม ทั้ง ๆ ที่เราเพิ่งลงปลาใหม่ได้ไม่กี่วัน อยู่ ๆ ทำไมถึงตาย? ไม่มีบาดแผล ไม่มีความผิดปกติในตัวเลย จนกระทั้งเราได้วัดค่าน้ำ ถึงได้รู้ว่าค่าแอมโมเนียสูงขึ้น ต่อให้เราถ่ายน้ำมากแค่ไหนอีก 2 – 3 วัน แอมโมเนียกลับมาสูงขึ้นใหม่
จากที่แอดได้พบเจอมากับตัวเอง หลายๆคนเริ่มที่จะใส่ใจในการวัดค่าน้ำมากขึ้น แต่ยังมีอีกหลายคนที่ละเลยไป วันนี้แอดจะนำทุกคนไปรู้จัก รู้ทัน และเตรีเพื่อน ๆ เคยสงสัยเหมือนแอดไหม ทั้ง ๆ ที่เราเพิ่งลงปลาใหม่ได้ไม่กี่วัน อยู่ ๆ ทำไมถึงตาย? ไม่มีบาดแผล ไม่มีความผิดปกติในตัวเลย จนกระทั้งเราได้วัดค่าน้ำ ถึงได้รู้ว่าค่าแอมโมเนียสูงขึ้น ต่อให้เราถ่ายน้ำมากแค่ไหนอีก 2 – 3 วัน แอมโมเนียกลับมาสูงขึ้นใหม่ จากที่แอดได้พบเจอมากับตัวเอง หลายๆคนเริ่มที่จะใส่ใจในการวัดค่าน้ำมากขึ้น แต่ยังมีอีกหลายคนที่ละเลยไป วันนี้แอดจะนำทุกคนไปรู้จัก รู้ทัน และเตรียมตัวรับมือ กับแอมโมเนีย
NH3 (แอมโมเนีย) เกิดจากการย่อยสลายของขี้ปลา ใบไม้ เศษอาหาร หรือการขับของเสียตายๆของปลา จะมีกระบวนการย่อยสลายดังนี้
NH3➡️➡️➡️ NO2 ➡️➡️➡️ NO3➡️➡️➡️
พืช ตะไคร้น้ำหรือสาหร่าย นำไนเตรทไปใช้ต่อ🔄
👉 โดยค่าของแอมโมเนีย
⛔ แอมโมเนีย 0.2 – 0.7 mg/l ทำให้ปลาหายใจลำบาก หายใจแรง ซึมอยู่ก้นบ่อ หายใจผิวน้ำ เหงือกแดง ผิว/ครีบแดง หยุดการสืบพันธุ์ หยุดการเจริญเติบโต
⛔ แอมโมเนียถึง 0.7 mg/l ระดับความเป็นพิษ ปลาตาย 50% ในเวลา 4 วัน
⛔ แอมโมเนีย 7 mg/l ระดับความเป็นพิษ ปลาตายภายใน 1 ชม.
🧐 วิธีสังเกตุอาการเบื้องต้น หากเพื่อน ๆ ไม่มี🖐️ที่วัดค่า NH3 (แอมโมเนีย)
😥 ปลาเริ่มทะยอยมีอาการลอยหัวขึ้นมาหายใจบนผิวน้ำ
🐟 ปลามีว่ายน้ำเชื่องช้า เคลื่อนไหวไปมาช้า และว่ายทวนน้ำ ทวนอ๊อกซิเจน
😭 ปลามีอาการ ระคายเคืองผิว มีจุดแดงๆ จ้ำๆ เป็นแผลได้ง่าย ‼️
✅ วิธีการแก้ไข เมื่อแอมโมเนียเกิน 1 mg/L
👉 งดอาหารน้องปลา โดยเริ่มทำความสะอาดกรอง และพื้นบ่อปลา
👉 เปลี่ยนน้ำ ทุกวัน 25-50% โดยเติมเกลือปริมาณ 1 กรัม/ลิตร ช่วยในการลดพิษของแอมโมเนีย